การควบคุมภายในตามมาตรฐาน COSO 2013 และการขับเคลื่อนภาคปฏิบัติตาม NEW GUIDANCE รุ่น 2
หัวข้อวิชาในหลักสูตร
1. มาตรฐานสากลด้านการควบคุมภายใน จาก ENRON วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ โมเดล K2K ถึง COSO 2013
1.1 การพัฒนากรอบแนวทางการกำหนดความรับผิดชอบภายในองค์กรตาม The Three Lines of Defense
1.2 ความเชื่อมโยงของ COSO 2013 กับ COSO ERM 2017
2. ทำความเข้าใจกับองค์ประกอบ 5 ด้านของการควบคุมภายใน 17 หลักการ และ 77 ประเด็นมุ่งเน้นย่อย และแนวทางการพัฒนาระบบควบคุมภายในให้
ครบองค์ประกอบ และแบบ 69-1 ที่ตลาดหลักทรัพย์ใช้กับบริษัทจดทะเบียนที่อิงมาจาก COSO 2013
3. การใช้แบบฟอร์มการประเมิน หลักการ เงื่อนไขและความเพียงพอของการควบคุมภายในระดับองค์กร
4. แนวปฏิบัติที่ดีด้านการควบคุมภายในที่พัฒนาใหม่ภายใต้ COSO 2013
4.1 From Three Line to Four Lines & Seven Lines
4.2 COSO in Cyber & Digital Age
4.3 COSO in Blockchain
4.4 COSO in ESG Reporting
5. การพัฒนาวัฒนธรรมการตระหนักและตื่นตัวต่อความเสี่ยงก่อนการเริ่มค้นหาความเสี่ยง ผา่ นโลก 3 ใบ และบทบาทของงานตรวจสอบภายใน
6. บทบาทใหม่ของบุคคลตาม COSO 2013
6.1 กำหนดกระบวนการหลักแบบ End-to-End สำหรับการควบคุมภายใน
6.2 การควบคุมภายในสำหรับองค์คณะพิเศษ คณะทำงานที่แต่งตั้งโดยเฉพาะ
7. การค้นหา วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงองค์กร ความเสี่ยงรายกระบวนการหลัก ความเสี่ยงด้านการทุจริต และความเสี่ยงด้าน IT ด้วย 4 มิติ พร้อม
ตัวอย่าง CHECKLIST
7.1 มิติของโอกาสเกิด
7.2 มิติของระดับความรุนแรง
7.3 มิติของคุณภาพการจัดการที่มี ระดับความเพียงพอ และประเภทของการควบคุม
7.4 มิติของความเฉียบพลันของการเปลี่ยนแปลงในความเสี่ยง
7.5 กรอบการวิเคราะห์การควบคุมภายใน รายกระบวนการ และรายเงื่อนไขข้อกำหนดของกฎหมายรายฉบับ
8. การพัฒนาเกณฑ์ความเสี่ยงที่ยอมรับได้และตัวชี้วัดการควบคุมภายในผ่าน KCIs
8.1 KCIs กำกับกิจกรรมภายใต้กระบวนการในงานประจำ
8.2 KCIs กำกับความเสี่ยงที่เกิดใหม่ ภายใต้ New Work Flow โดยเฉพาะ (Regulatory Criteria)
8.3 ตัวอย่างของ KCIs เพื่อเฝ้าระวัง ติดตามความคืบหน้าของการควบคุมภายใน
9. แนวทางการพัฒนาแผนการควบคุมภายใน เพื่อลดจุดอ่อนและช่องว่างความเสี่ยง ที่เกินกว่ายอมรับได้ และแทรกไว้ใน Work Instruction หรือ Work
Flow
9.1 การแทรกผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงและการควบคุมภายในไว้ในกระบวนการทำงาน การเป็นส่วนหนึ่งของการอนุมัติ Table of Authority
9.2 การพัฒนาแบบแผนการควบคุมภายในเพื่อใช้รายสถานการณ์ (Situation-based) ที่อยู่นอกเหนือกระบวนการปกติ
9.3 การพัฒนาแบบแผนการควบคุมภายในเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Response Plan)
10. แนวทางการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานและความสำเร็จของการควบคุมภายใน
10.1 การรายงานตามตัวชี้วัด
10.2 การรายงานตามเงื่อนไขทางกฎหมาย
11. แนวโน้มการพัฒนาของมาตรฐานการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงในยุคดิจิทัล
ค่าธรรมเนียม
3,900.-วิทยากร
อาจารย์ จิรพร สุเมธีประสิทธิ์
วิทยากร
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
30-40 คน
วิธีการและระยะเวลาการฝึกอบรม
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM