ภาระงาน ประเด็นและเงื่อนไขภาคบังคับ และแนวทางบริหารจัดการสำหรับ CAE ตาม DOMAIN III มาตรฐานสากลการตรวจสอบภายใน 2024

Share

หัวข้อวิชาในหลักสูตร

วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ9 2567 เวลา 09.00 – 12.00 น.
1. สรุปภาพองค์ประกอบสำคัญของมาตรฐานสากลการตรวจสอบภายในฉบับปี 2024
– เนื้อหาและสาระของ DOMAIN I – V
– องค์ประกอบของ 15 หลักการ 52 มาตรฐานย่อย
– บทบาทที่สำคัญของ CAE ที่ปรากฏอยู่ในมาตรฐานสากลฉบับใหม่
2. รายการที่ต้องมีการตรวจสอบในรูปแบบของ CHECKLIST
– CHECKLIST ที่เป็นเงื่อนไขสำคัญสำหรับคณะกรรมการตรวจสอบ คู่กับผู้บริหารระดับสูง
– CHECKLIST ที่เป็นเงื่อนไขสำคัญสำหรับ CAE
– CHECKLIST รายการที่จะต้องมีการจัดทำ METHODOLOGY 37 รายการ
– CHECKLIST รายการกระดาษทำการที่ต้องใช้ปฏิบัติงานภายในหน่วยงานตรวจสอบภายใน
เวลา 13.00 – 16.00 น.
3. ประเด็นที่ใช้ในการพัฒนาหน่วยงานตรวจสอบภายใน
– เงื่อนไขด้านจริยธรรมและความเป็นผู้ประกอบวิชาชีพระดับบุคคล
– การกำหนดกรอบการกำกับดูแลหน่วยงานหน่วยงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานและข้อกำหนดที่จำเป็น
– การสรรหาแต่งตั้งตำแหน่งของผู้กำกับดูแลรายภาระงานตรวจสอบ ENGAGEMENT AUDIT
SUPERVISOR
– รูปแบบการรายงานตามฟังก์ชั่นงาน
– การระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสำหรับงานตรวจสอบในหน่วยงานภาครัฐ
– การบริหารความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูล
– การออกใช้กฎบัตรสำหรับองค์กรกำกับ หรือคณะกรรมการตรวจสอบ
วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09.00 – 12.00 น.
4. รูปแบบการส่งมอบบริการตรวจสอบภายในที่เป็นทางเลือก
– การดำเนินงานภายใน การจัดจ้างผู้ให้บริการภายนอก และการผสมผสานงานตรวจสอบร่วมกัน
– การให้บริการ 3 รูปแบบ ASSURANCE , ADVISORY , ANTICIPATE AUDIT
5. รูปแบบการตรวจสอบภายในสมัยใหม่ที่ปรากฏอยู่ในมาตรฐานการตรวจสอบภายในสากลฉบับใหม่
6. ประเด็นที่เป้นแนวทางในการพิจารณาเพิ่มเติม
– การร่วมมือกับผู้ให้บริการด้านความเชื่อมั่นอื่น (Collaboration with Other Assurance Providers)
– โมเดลเชิงสมรรถนะของงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit Capability Model (IA-CM)
– การประยุกต์ใช้ Three Lines Model
7. งานตรวจสอบภายในภาครัฐกับการบริหารตามกรอบ ESG (Environmental, Social and Governance (ESG)) นอกเหนือจาก GRC PROCESS
8. ประเด็นที่ใช้ในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานตรวจสอบภายในภาครัฐ
– แนวทางการจัดทำแผนกลยุทธ์งานตรวจสอบภายใน
– การบริหารงานบุคคลของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
– การบริหารงานงบประมาณ ทรัพยากรทางการเงิน เทคโนโลยี
– การพัฒนาคู่มือและวิธีดำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน
– การประกันคุณภาพและแผนการปรับปรุงการตรวจสอบภายใน
– การบริหารทรัพยากรทางเทคโนโลยี นวัตกรรม
เวลา 13.00 – 16.00 น.
9. ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการดำเนินงานเพื่อให้บริการตรวจสอบภายใน
– การจัดทำ AUDIT UNIVERSE เพื่อเตรียมแผนการตรวจสอบภายใน
– การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงองค์กรเพื่อทำ RISK THEME และ RISK – CONTROL MATRIX
และการนำผลการวิเคราะหืที่ได้ หารือทำความเข้าใจร่วมกัน SECOND LINES
– การพัฒนาแผนการตรวจสอบภายในบนฐานความเสี่ยง
– การสร้างพันธะผูกพันและบริหารงานตรวจสอบรายพันธะผูกพัน
– การจัดทำรายงาน การสื่อสารผลลัพธ์ที่ได้ และการติดตามผล (Reporting and Monitoring)
– การวิเคราะห์และประเมินผลตอบรับ (Feedback) เพื่อประกอบวงจรการบริหารงานตรวจสอบ
10. การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางปรับปรุงและยกระดับ
11. ความท้าทาย ปัญหาและอุปสรรค

ค่าธรรมเนียม

6,900.-

วิทยากร

อาจารย์ จิรพร สุเมธีประสิทธิ์

วิทยากร

จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม

30-40 คน

วิธีการและระยะเวลาการฝึกอบรม

วันที่ 20 – 21 กุมภาพันธ์ 2568 (2 วันอบรม 12 ชั่วโมง)
ณ  โรงแรม เดอะ เบอร์เคลียร์ ประตูน้ำ กรุงเทพฯ