ก้าวสู่อนาคต: CSR x CSV สู่ SDGs การพัฒนาอย่างยั่งยืน Stepping into the Future: CSR x CSV to SDGs for Sustainable Development
หัวข้อวิชาในหลักสูตร
วันที่ 1: การสร้างรากฐานสู่ความยั่งยืน: จาก CSR สู่ CSV
เวลา: 9:00 – 12:00 น. วิทยากร รศ.ดร.ณดา จันทร์สม
หัวข้อช่วงเช้า: “CSR ยุคใหม่: เปลี่ยนจากการช่วยเหลือสู่การสร้างคุณค่า”
– อธิบายแนวคิดพื้นฐานของ CSR ในปัจจุบัน และความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนแนวคิดจากการทำเพื่อสังคมสู่การสร้างประโยชน์ร่วมกัน
– กรณีศึกษาจากองค์กรที่ประสบความสำเร็จใน CSR
– การประเมินผลลัพธ์เชิงบวกของ CSR ทั้งในด้านองค์กรและสังคม
– หัวข้อช่วงบ่าย: “Creating Shared Value (CSV): การสร้างคุณค่าร่วมกันระหว่างธุรกิจและสังคม”
– การพัฒนาแนวคิดจาก CSR สู่ CSV
– การประเมินความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Analysis)
– ตัวอย่างจากองค์กรที่ใช่ CSV เพื่อการเติบโตยั่งยืน
– การนำ CSV มาใช้ในองค์กรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
เวลา: 13:00 – 16:00 น. วิทยากร นายวสันต์ เวียนรุ่งเรือง
หัวข้อช่วงบ่าย: “มุมมอง CSR 360 องศา”
– การมอง CSR ในมิติขององค์กร, พนักงาน, ผู้บริโภค, สังคม และสิ่งแวดล้อม
– ประโยชน์ของการทำ CSR ในมุมมองที่หลากหลาย
– ประโยชน์ด้านธุรกิจและองค์กร
– ประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
– ประโยชน์ด้านกฎหมายและมาตรฐาน
…………………………………………………………..
วันที่ 2: การใช้ AI และนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการตลาด
เวลา: 9:00 – 16:00 น. วิทยากร: นายวสันต์ เวียนรุ่งเรือง
หัวข้อช่วงเช้า: “AI สำหรับการตลาด: เปลี่ยนวิธีการทำธุรกิจด้วยเทคโนโลยี”
– การใช้ AI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและการตลาด
– การวิเคราะห์ตลาดด้วย AI เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
– การสร้างกลยุทธ์การตลาดออนไลน์ด้วย AI และการวางแผนคอนเทนต์
หัวข้อช่วงบ่าย: “นวัตกรรมและการพัฒนาสินค้าชุมชน: เสริมสร้างธุรกิจจากรากฐาน”
– การพัฒนาสินค้าชุมชนให้ตอบสนองต่อตลาดที่เปลี่ยนแปลง
– การนำ AI มาใช้ในการพัฒนาสินค้าและกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า
– การวางกลยุทธ์การขายและการตลาดแบบดิจิทัลสำหรับสินค้าในชุมชน
วันที่ 3: การเชื่อมโยง CSR และ SDGs สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
เวลา: 9:00 – 16:00 น. วิทยากร: รศ.ดร.ณดา จันทร์สม
หัวข้อช่วงเช้า: “จาก CSR สู่ SDCGs”
หัวข้อช่วงเช้า: “การบูรณาการเปbาหมาย SDGs ในองค์กร”
– ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Sustainable Development Goals (SDGs) และบทบาทขององค์กรใน
การสนับสนุน SDGs
– การประเมินผลกระทบขององค์กรที่มีต่อเป้าหมาย SDGs
– การสร้างโครงการที่เชื่อมโยงกับ SDGs เพื่อสร้างความยั่งยืนในระยะยาว
“การออกแบบกลยุทธ์ CSR ที่เชื่อมโยงกับ SDGs”
– การวางแผนและการประยุกต์ใช้กลยุทธ์ CSR ที่เชื่อมโยงกับ SDGs ในองค์กร
– การวิเคราะห์กรณีศึกษาขององค์กรที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน CSR โดยคำนึงถึง SDGs
– การวัดผลและการติดตามความสำเร็จของโครงการ CSR ที่เชื่อมโยงกับ SDGs
หัวข้อช่วงบ่าย: “การบูรณาการ CSV เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน”
– การเชื่อมโยง CSV กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
– การพัฒนาโครงการร่วมที่ช่วยสร้างคุณค่าให้กับองค์กรและชุมชนในระยะยาว
– การวัดผลและติดตามความสำเร็จของโครงการ CSV ในชุมชน
…………………………………………………………..
วันที่ 4: การพัฒนา CSR และ CSV เพื่อความยั่งยืนในชุมชน
เวลา: 9:00 – 16:00 น.
วิทยากร: นายสุรชาติ เล็กน้อย และนายวสันต์ เวียนรุ่งเรือง
“การพัฒนาโครงการด้วย AI: แนวทางและการประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการโครงการ”
– AI กับการพัฒนาโครงการ การหาแนวคิด การคาดการณ์, การวางแผน
– การปรับปรุงโครงการให้สอดคล้องกับบริบทชุมชนและแหล่งทุน
– การใช้ AI จัดการโครงการ (Project Management)
– การวิเคราะห์ข้อมูล, การติดตามความคืบหน้า และการสรุปงาน
แนะนำแนวคิด CSR และการเชื่อมโยงกับเป้าหมายขององค์กร
– ความสำคัญของ CSR ในการสร้างความยั่งยืน
– บทบาทของ CSR ในการตอบสนองความต้องการขององค์กรและสังคม
– การสร้างคุณค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในและนอกองค์กร
การเชื่อมโยง CSR กับวิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร
– วิธีการที่ CSR สามารถเสริมสร้างภาพลักษณ์และการพัฒนาองค์กรให้ยั่งยืน
การวิเคราะห์ความต้องการขององค์กรและชุมชน
– การวิเคราะห์ความต้องการขององค์กร (Organizational Needs Assessment)
– เครื่องมือในการวิเคราะห์ความท้าทายและความต้องการขององค์กรเพื่อออกแบบโครงการ CSR
ให้ตอบโจทย์
– การวิเคราะห์ความต้องการของชุมชน (Community Needs Assessment)
– การสำรวจความต้องการและปัญหาที่แท้จริงของชุมชนผ่านการทำวิจัยและการสัมภาษณ์
– การวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อชุมชน เช่น สังคม, สิ่งแวดล้อม, การศึกษา
แนวทางการออกแบบโครงการ CSR ที่ตอบโจทย์
– กำหนดเป็าหมายและผลลัพธ์ที่ต้องการของโครงการ (Goal Setting)
– การเลือกแนวทางและกิจกรรม CSR ที่สอดคล้องกับทั้งองค์กรและสังคม
– วิธีการวางแผนการดำเนินงาน และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
การวัดผลและการประเมินความสำเร็จของโครงการ CSR
– การกำหนดดัชนีชี้วัด (KPIs) เพื่อประเมินความสำเร็จของโครงการ
– การวิเคราะห์ผลลัพธ์และการรายงานความสำเร็จทั้งในแง่ของธุรกิจและสังคม
กรณีศึกษา
– นำเสนอกรณีศึกษาการทำ CSR ที่ประสบความสำเร็จและสามารถสร้างประโยชน์ให้ทั้งองค์กร
และชุมชน
…………………………………………………………..
วันที่ 5: การสร้างโครงการ CSR ที่ยั่งยืนและการนำเสนอ
เวลา: 9:00 – 16:00 น.
วิทยากร: พลตรี นเรศฐากูล โกรา นายวสันต์ เวียนรุ่งเรือง และนายสุรชาติ เล็กน้อย
ช่วงเช้า Workshop การออกแบบโครงการ ผู้เข้าอบรมทำงานเป็นกลุ่มเพื่อออกแบบโครงการ CSR ที่ตอบโจทย์
องค์กรของตนเอง แต่ละกลุ่มนำเสนอแผนงานและโครงการที่ออกแบบมา
กิจกรรมกลุ่ม (Group Activity) ผู้เข้าอบรมแบ่งกลุ่มเพื่อทำการระดมสมองและวิเคราะห์ความต้องการขององค์กรและชุมชนในกรณีศึกษาที่กำหนด
ขั้นตอน:
– ระบุปัญหาและความต้องการขององค์กรและชุมชน
– กำหนดเป้าหมายโครงการ
– เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับการแก่ปัญหาและสร้างผลกระทบ
– วางแผนการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร
– กำหนดวิธีการวัดผลและการประเมินผล
ช่วงบ่าย
แต่ละกลุ่มนำเสนอแผนงานและโครงการที่ออกแบบมา
วิทยากรให้ข้อเสนอแนะและแนวทางปรับปรุง
การสรุปผลและการนำไปประยุกต์ใช้ (15 นาที)
การประยุกต์ใช้แนวคิดจาก Workshop สู่การทำงานจริง
– เคล็ดลับการนำโครงการ CSR ที่ออกแบบในวันนี้ไปปรับใช้ในองค์กร
– ข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานเพื่อตอบโจทย์ความต้องการทั้งขององค์กรและสังคม
ค่าธรรมเนียม
28,900.-วิทยากร
คณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์สูงจากภายในและภายนอกสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
วิทยากร
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
30-40 คน
วิธีการและระยะเวลาการฝึกอบรม
การบรรยาย การอภิปราย การสัมมนา การศึกษาดูงานการจัดกิจกรรม CSR ในประเทศ
และการปฏิบัติจริงโดยจัดทำโครงการพัฒนาในพื้นที่ที่ตกลงร2วมกันของรุ2น รวมถึงการนำเสนอโครงการดังกล2าว
ภายหลังจากสำเร็จการศึกษาอบรม