การรับมือ FUTURE Compliance Gap & Compliance Risk Management แนวคิด มาตรฐานสากล เทคนิค และวิธีทำแผนภาคปฏิบัติ รุ่น 1

Share

หัวข้อวิชาในหลักสูตร

1. มาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องกับการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ประกอบด้วย
มาตรฐานสากล 1 COSO 2013: Integrated Internal Control Framework
มาตรฐานสากล 2 COSO ERM 2017 – GUIDELINE ON COMPLIANCE MANGEMENT
มาตรฐานสากล 3 SOX Act (Sarbanes-Oxley)
มาตรฐานสากล 4 GRC ของ OCEG และ ES-G-RC
มาตรฐานสากล 5 ISO 37101: 2019 Compliance Management System มาตรฐาน ISO 31022 Legal Risk
Management
2. องค์ประกอบ 6 ด้านของงาน Compliance การกำหนดขอบเขตที่แตกต่างกันและการประสานเพื่อผนึกกำลัง
ร่วมกันภายใต้กฎหมายแต่ละฉบับ
Regulatory Compliance
Operational Compliance
Financial Compliance
Workforce Compliance
IT Compliance
ESG Compliance เพื่อรองรับเศรษฐกิจกระแสใหม่ ที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่างของ Compliance Risk Mapping ระหว่างปี 2567 ถึง 2568
2. Basic Compliance Management การกำกับขั้นพื้นฐาน
 กฎเกณฑ์ที่กำกับนิติบุคคล หรือผู้กระทำการแทนองค์กร คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง
 กฎเกณฑ์ที่กำกับด้านการปฏิบัติงาน พันธสัญญา ข้อผูกพันที่มีต่อภายนอก
 กฎเกณฑ์ที่กำกับการบริหารจัดการบุคคล ในฐานะนายจ้างหรือผู้ว่าจ้าง รวมทั้งจริยธรรมและจรรยาบรรณทางธุรกิจ
 กฎเกณฑ์ที่กำกับการบริหารงานและปฏิบัติงานทางอิเล็กทรอนิกส์ การทำงานแบบดิจิทัล
 กฎเกณฑ์ที่กำกับการบริหารจัดการทางการเงิน การรับและจ่ายเงิน ระบบการชำระเงิน
 กฎเกณฑ์ที่กำกับความรับผิดชอบที่มีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
4. Advanced Compliance Management & การเปลี่ยนแปลงในรอบปี 2030
From Corporate Social Responsibility & Social Sustainability To ESG & 17 UN’s SDGs
Human Right ประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและกฎหมายรสรสเท่าเทียม
New Safety & Security Standards on Electronic Transaction & IT Law
Transfer Pricing สำหรับธุรกรรมในกลุ่มเดียวกัน บริษัทในเครือ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การคุ้มครองข้อมูลทั่วไป
5. การเปลี่ยนแปลงในส่วนของหน่วยงานภาครัฐ ตามแผนปฏิรูปประเทศ ส่วนของกฎหมายที่ต้องปรับปรุงทุก 5 ปี ที่ได้รับอนุมัติ
จากคณะรัฐมนตรีจนถึงปี 2572
พรบ.วินัยการเงินการคลัง
ร่าง พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ร.บ.ข;อมูลความมั่นคงของรัฐและความลับของทางราชการ
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ร่างพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน
ร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายออกใหม่ – ระเบียบสำนักนายกฯ การรับ การให้ของขวัญ
– การเรี่ยไรของหน่วยงานรัฐตามประกาศคณะกรรมการฯ
6. การนำ Compliance Management จากทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ
 COMPLIANCE GAP ความแตกต่างระหว่างข้อกำหนดของกฎเกณฑ์และแนวปฏิบัติขององค์กรที่ต้องปิดช่องว่าง ให้
ครบถ้วน
ตัวอย่างของ COMPLIANCE GAP
 COMPLIANCE RISK ความเสี่ยงจากการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ไม่เพียงพอ ทั้งปัจจัยเสี่ยงภายในองค์กรเอง
และปัจจัยความเสี่ยงภายนอก ที่มาจากกิจการในห่วงโซ่อุปทาน
ตัวอย่างของ COMPLIANCE RISK
 เทคนิคและวิธีดำเนินงานเพื่อปิดช่องว่างของ COMPLIANCE GAP ตลอดจน การขออนุมัติแผนงานโครงการ
เพื่อปิดช่องว่างความเสี่ยง
 เทคนิคและวิธีดำเนินงานเพื่อบริหารจัดการและตอบโต้ต่อความเสี่ยง COMPLIANCE RISK ตลอดจนการขออนุมัติ
แผนบริหารความเสี่ยง เป็นส่วนหนึ่งของแผนบริหารความเสี่ยงองค์กร
7. การพัฒนาและยกระดับ COMPLIANCE MANAGEMENT SYSTEM
 การจัดวางเครือข่าย COMPLIANCE OFFICER IN-PROCESS การบริหารในระดับสายงานและฝ่ายงาน
 การวางบทบาท CENTRALIZED COMPLIANCE OFFICER 6 ด่าน และ COMPLIANCE UNIT
 การวางโครงสร้างการกำกับดูแล ในระดับผู้บริหารระดับสูงและระดับคณะกรรมการ
 การจัดทำแผนกลยุทธ์การพัฒนาระบบบริหารงานกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ในระยะยาว
 การจัดวางระบบเอกสารหลักฐาน เพื่อรองรับระบบบริหารงานกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
 การพัฒนาห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์สำหรับงานกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
 การจัดหลักสูตรเพื่ออบรมเฉพาะทาง สำหรับการปิด COMPLIANCE GAP & COMPLIANCE RISK
เฉพาะเจาะจง
8. การกำหนดตัวชี้วัดความเสี่ยง กลไกการติดตาม การวัดผลและประเมินผล ดำเนินงานด้านการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ในเชิงความเพียงพอและประสิทธิผล
9. การจัดทำรายงาน และรูปแบบรายงานที่เกี่ยวข้องกับการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
10 ตัวอย่าง CHECKLIST ที่ใช้ในการประเมินตนเอง
11. การเชื่อมโยงงานกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ กับงานบริหารความเสี่ยง และงานตรวจสอบภายใน

ค่าธรรมเนียม

6,900.-

วิทยากร

อาจารย์ จิรพร สุเมธีประสิทธิ์

วิทยากร

จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม

40

วิธีการและระยะเวลาการฝึกอบรม

วันที่ 7 – 8 พฤศจิกายน 2567 (2 วันอบรม 12 ชั่วโมง)
สถานที่ฝึกอบรม โรงแรมเซ็นทารา ไลฟ์ ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ